
“เพื่อให้ร้านอาหารชั้นนำทําเว็บขายของเข้าใกล้ลูกค้ามากขึ้น ส่งอาหารได้เร็วขึ้น และสั่งอาหารหลายออเดอร์ได้ในการสั่งครั้งเดียว” วัตถุประสงค์หลักของการเปิดตัว GRAB KITCHEN อย่างเป็นทางการในวันนี้ ที่ตลาดสามย่าน ครัวใจกลางเมืองแห่งใหม่แห่งแรกของไทยและเป็นประเทศที่สองรองจากอินโดนีเซียที่มีการนำแนวคิดนี้มาใช้
แกร็บคิทเช่นเปิดตัวครั้งแรกในอินโดนีเซียเมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา และประสบความสำเร็จอย่างมาก การเปิดตัวแกร็บคิทเช่นในประเทศไทยในวันนี้ทำให้แกร็บฟู้ดเป็นผู้ดำเนินธุรกิจทําเว็บขายของกินคลาวด์ คิทเช่นที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วย ครัว“อาหารปรุงสด” จำนวน 20 แห่งรวมถึงในเวียดนาม นอกจากนี้ยังเป็นครั้งแรกที่แกร็บฟู้ดขยายการดำเนินการทำเว็บไซต์ ขาย สินค้า ออนไลน์แกร็บคิทเช่นนอกประเทศอินโดนีเซีย ภายในปลายปีพ.ศ.2562 แกร็บฟู้ดจะเป็นผู้ดำเนินเครือข่ายธุรกิจคลาวด์ คิทเช่นที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาค โดยตั้งเป้าเปิด แกร็บคิทเช่นกว่า 50 สาขาใน 5 ประเทศทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พร้อมขึ้นเป็นแพลตฟอร์มให้บริการส่งอาหารระดับภูมิภาคหนึ่งเดียวที่ให้การบริการครอบคลุมมากที่สุด ในปัจจุบัน แกร็บฟู้ดให้บริการอยู่ใน 221 เมือง ใน 6 ประเทศ
แกร็บคิทเช่นนำเสนอเมนูอาหารที่หลากหลายแก่ผู้ใช้บริการในพื้นที่ที่แกร็บคิทเช่นตั้งอยู่โดยการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลที่ลูกค้าเคยใช้บริการเพื่อขจัดช่องว่างด้านสถานที่ตั้ง ในขณะเดียวกันก็ช่วยลดเวลาในการส่งอาหาร นอกจากนี้ ยังช่วยสนับสนุนโอกาสเติบโตทางธุรกิจของพาร์ทเนอร์ร้านอาหารซึ่งเป็นผู้ประกอบธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลางในการขยายการเข้าถึงผู้บริโภคโดยการใช้ที่ ทำเว็บไซต์ e-commerce เทคโนโลยีและไม่ต้องอาศัยเงินลงทุนจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของค่าเช่า ซึ่งมักจะเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงมากอย่างหนึ่งสำหรับผู้ประกอบการร้านอาหารและเครื่องดื่ม
ธรินทร์ ธนียวัน กรรมการผู้จัดการใหญ่ แกร็บ ประเทศไทย กล่าวว่า การเป็น GRAB KITCHEN ที่สามย่านนั้นมาจากการนำดาต้าของบริษัทมาวิเคราะห์และพบว่าย่านสยาม สีลมและสาทรมีอัตราการสั่งอาหารช่วงพักกลางวันสูง ส่วนการเลือกตลาดสามย่านเป็นครัวกลางนั้น เพราะอยู่ในย่านที่เชื่อมโยงการเดินทางของทั้ง 3 จุดได้สะดวกในระยะทางไม่เกิน 8 กม.
แกร็บใช้ข้อมูลในการระบุสถานที่
ดังนั้น จึงคัดเลือกร้านอาหารที่คนนิยมสั่งและสนใจอยากเข้าร่วมครัวย่อยจำนวน 12 ร้านมาไว้ที่ GRAB KITCHEN ได้แก่ ร้านเอลวิสสุกี้ ป.เจริญชัยไก่ตอน บราวน์คาเฟ่ ตำป๊อกป๊อก อองตองข้าวซอย ปูไข่ดองของกู เคเคบับ เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีร้านอาหารจากเครือเซ็นทรัลอย่าง เจ๊เกียง โจ๊กกองปราบ หมูทอดถนนประมวล ก๋วยเตี๋ยวต้มยำแปดริ้ว โตเกียวโบวล์และตามสั่งสิ้นคิด
ทางด้านของการเข้ามาใช้สถานที่แห่งนี้นั้น มาจากการคัดเลือกร้านอาหารยอดนิยมที่มีการสั่งมากที่สุดผ่านระบบของแกร็บก่อน โดยสถานที่แห่งนี้ร้านอาหารจะได้ติดตั้งระบบแก๊สและน้ำต่างๆ ไว้ ทางผู้ประกอบกิจการต้องเป็นผู้นำอุปกรณ์และเครื่องครัวประกอบอาหารต่างๆ มาเอง
ส่วนค่าใช้จ่ายในการบริหารคิวการสั่ง จัดส่งหรือบริหารจัดการหน้าร้านต่างๆ จะมีเจ้าหน้าที่ของแกร็บเป็นคนจัดการให้เองทั้งหมด
คุณดุลยวิทย์ ขุ่ยอาภัย เจ้าของร้านอองตอง ข้าวซอย พาร์ทเนอร์ร้านอาหารที่นำข้าวซอยซึ่งเป็นอาหารเหนือมาไว้ในกรุงเทพ ยอมรับว่า เป็นโอกาสทางธุรกิจทำเว็บไซต์ e-commerce ที่ช่วยสร้างประโยชน์ให้กับทั้งสองทาง การลงทุนในครั้งนี้ของทางร้านเรียกได้ว่าไม่ได้มีต้นทุนสูงเมื่อเทียบกับการเปิดหน้าร้านเอง และยังเข้าถึงลูกค้าได้ง่ายขึ้นด้วย
อย่างไรก็ตาม GRAB KITCHEN ที่สามย่านยังคงเป็นการทดลองว่าจะช่วยให้ร้านค้าเข้าถึงลูกค้าได้ดีแค่ไหนแต่ก็มองหาจุดกลางในการทำครัวแบบนี้ ในย่านอื่นๆ ด้วย โดยเงื่อนไขความสะดวกคือ เป็นศูนย์กลางในการจัดส่งและรับสินค้าได้สะดวก มีที่จอดรถให้แก่พาร์ทเนอร์ที่มารับของ ร้านอาหารซื้อวัตถุดิบในการประกอบอาหารได้สะดวก เป็นต้น ซึ่งต้องยอมรับว่าการหาย่านที่มีเงื่อนไขครบแบบนี้ค่อนข้างยาก
ส่วนครัวกลางแบบนี้ไทยเป็นประเทศที่สองที่นำแนวคิดนี้มาใช้ ส่วนที่อินโดนีเซียมีครัวกลางกว่า 20 แห่ง เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ลูกค้า ซึ่งร้านอาหารส่วนใหญ่ก็สนใจอยากเข้าร่วม และลูกค้าสามารถร่วมกิจกรรมส่งอาหารได้ฟรีจนถึงสิ้นเดือนตุลาคมนี้ ในพื้นที่ไม่เกิน 8 กม.
บรรยากาศภายใน GRAB KITCHEN
ป้ายด้านหน้าของ GRAB KITCHEN
บริเวณรับออเดอร์สั่งอาหาร
ทีมจาก GRAB ในการรับออเดอร์และส่งอาหารให้แก่ผู้ร่วมขับนำไปส่ง
ครัวของร้านอาหาร ซึ่งร้านนี้พื้นที่ค่อนข้างใหญ่ และปรุงอาหารให้แก่ 5 ร้าน
ทีมจัดทำอาหารที่กำลังปรุงอาหารอย่างเร่งด่วนตามออเดอร์
ที่มา.https://www.thumbsup.in.th