ใครบอกว่า “เงินหายาก” กันคะ ในเมื่อเงินอยู่รอบตัวเรา ขอเเค่เห็นโอกาสเเละทักษะพร้อม เราก็รวยได้ทันที ก่อนที่จะรู้ว่าธุรกิจไหนที่น่าลงทุนต้องบอกก่อนว่าสิ่งที่มีค่าที่สุดในการดำเนินธุรกิจให้รวยนั่นก็คือ “ ความรู้ ” ยิ่งปัจจุบันที่มองไปทางไหนก็เต็มไปด้วยสงครามธุรกิจเว็บไซต์ ขาย สินค้า ออนไลน์เราก็ต้องยิ่งหาความรู้เพื่อเป็นผู้รอดในสงครามเดือดครั้งนี้ให้ได้
การเสิร์ชด้วยเสียงทำให้ตลาดการซื้อสินค้าด้วยเสียงโตไปด้วย ล่าสุดมีการประเมินว่าอุตสาหกรรมการจับจ่ายซื้อสินค้าและบริการด้วยเสียงจะมีมูลค่าไม่ต่ำกว่า 4 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐภายในปี 2022 ทำให้บริษัทยักษ์ใหญ่ต่างลงทุนไม่เพียงการสร้างแบรนด์ที่เห็นทางตาเท่านั้น แต่กำลังสร้างในรูปเสียงด้วย ล่าสุดคือ Mastercard
ถ้าทําเว็บ e-commerceเจ้าใหญ่ในประเทศคงหนีไม่พ้น Lazada เเละ Shopee ที่พยายามฟาดฟันเพื่อเป็นเบอร์ 1 ในประเทศไทยอยู่ตอนนี้ โดยการเเข่งขันทั้งคู่มักจะดุเดือดเสมอเมื่อถึงเทศกาลลดราคาเช่น เทศกาลต่างๆ วันเลขสวยวันรี้เราเลยจะมาบอกฟีเจอร์เทพๆ กระตุ้นยอดขายที่ E-Commerce อย่าง Lazada เเละ Shopee กำลังใช้กัน
ต้องยอมรับว่าการเติบโตของการตลาด “อีคอมเมิร์ซ” เป็นหนึ่งในปัจจัยหลักที่ผลักดันให้ “บริการจัดส่งพัสดุ” เติบโตตามไปด้วย สอดคล้องกับการขยายตัวของ Kerry Express ที่ระบุว่าสามารถขยายจุดให้บริการครบ 10,000 แห่งทั่วประเทศไทย พร้อมด้วยสถิติการจัดส่งพัสดุด่วนถึง 2 ล้านกล่องต่อวัน! (ข้อมูล ณ สิงหาคม 2562) ขึ้นแท่นเบอร์ 1 ด้านการจัดส่งพัสดุด่วนในประเทศไปแล้ว
nstagram ยืนยันกับสำนักข่าว TechCrunch ว่าขณะนี้เริ่มทดสอบบริการชำระเงินเว็บไซต์ ขาย สินค้า ออนไลน์แล้ว แต่เป็นการทดสอบเฉพาะบริการจองห้องพักและจองร้านเสริมสวยกับผู้ให้บริการบางรายในขณะนี้ ซึ่งสื่อวิเคราะห์ว่ามีโอกาสขยายไปยังบริการ shopping หลายรูปแบบมากขึ้น
แม้จะมีการร่วมมือกับทาง JD.com ในการทำช้อปปิ้งออนไลน์แล้ว แต่นั่นคือการแยกทีมกันทำกับทีมเว็บไซต์ Central.co.th และนี่คือการพลิกโฉมอีกครั้ง เพื่อให้ลูกค้ามั่นใจได้ว่านักช้อปจะสามารถเลือกซื้อสินค้าภายในห้างได้ แม้ไม่ได้เดินทางมาที่สาขา โดยอัดงบกว่า 250 ล้านบาท ตั้งเป้าโต 150% ภายในปี 2019 นี้
แม้ว่าจะยังไม่มีตัวเลขสรุปภาพรวมรายได้ของวงการทําเว็บ e-commerceในปี 2018 แต่ภาพรวมวงการอีคอมเมิร์ซปีนี้คงหนีไม่พ้นการแข่งขันจาก 3 ยักษ์อย่าง LAZADA, Shoppee, JD Central รวมทั้งการใช้จ่ายแบบวอลเลตก็จะเริ่มได้รับการยอมรับจากผู้ใช้งานมากขึ้น แม้ว่าการเก็บภาษีออนไลน์จะเป็นประเด็นสำคัญ
อธิบดีกรมสรรพากรไทยยืนยันกับสำนักข่าว Reuters ว่าเตรียมพร้อมเก็บภาษีสำหรับคนที่ทำเว็บไซต์ ecommerce ในปีหน้า คาดว่าจะเปิดตัวภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ในปี 2020 โดยมีเป้าหมายที่จะรวบรวมภาษีเป็นรายได้แผ่นดินให้ได้ 3-4 พันล้านบาท (98-131 ล้านเหรียญสหรัฐ) ต่อปี
ข้าสู่ช่วงต้นปีแบบนี้ แน่นอนว่า ทางสำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สพธอ.) หรือ ETDA กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมก็ได้ออกมาสรุปภาพรวมการเติบโตและมูลค่าที่รับทำ e-commerce ชั้นนำของไทย โดยในปี 2560 ที่ผ่านมา มีมูลค่าประมาณ 2.81 ล้านล้านบาท และคาดการณ์ปี 2561 มั่นใจว่าจะมีมูลค่าสูงแตะที่ 3 ล้านล้านบาทแน่นอน
ในกลุ่มธุรกิจค้าปลีกด้านความสวยงามความงาม ต้องเรียกว่าภาพของร้านเพื่อสุขภาพและความงามอย่าง Watson ที่มีสาขากว่า 7,200 ร้านค้าและร้านขายยา กว่า 1,500 ร้านค้าใน 13 ตลาด ทั้งในเอเชียและยุโรปนั้น ดุเดือดมาก แม้ว่าสาขาในไทยเองก็มีไม่น้อยกว่า 500 สาขา แต่การจะสร้างประสบการณ์ที่ดีและภักดีต่อแบรนด์นั้น