31 Oct October 31, 2014 by atcreative in Blog, e-Commerce News ด้วยจำนวน Hypermarket ที่มีร้านค้ามากกว่า 400 แห่งทั่วประเทศทำธุรกิจเกาหลีที่มีความหนาแน่นสูงส่งผลให้ผู้ประกอบการต้องเปลี่ยนวิธีการแข่งขันทางด้านปริมาณมาเน้นการแข็งขันทางด้านคุณภาพแทนที่ได้เข้าถึงผู้บริโภคได้รวดเร็ว โฮมพลัส ร้านค้าของเทสโก้ในเกาหลีใต้ Dr.Do-Won Seol ผู้อำนวยการฝ่ายภาพลักษณ์องค์กร บริษัท โฮมพลัสจำกัด เนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคได้เปลี่ยนไปจิงเปิดร้านเสมือนจริงเพื่อให้สะดวกกับผู้ช้อปปิ้งเวลาเดินไปทำงานหรือเดินทางกลับบ้าน แล้วบริษัทเทสโก้ที่ประเทศอังกฤษได้ทำการเปิดร้านเสมือนจริงในช่วงโอลิมปิกลอนดอน นอกจากนี้ยังได้รับเสนอการเข้าชิงรางวัล Design of the year โดย London Design Museum ในปี 2554 ในการดีไซน์บริการดิจิตอลแห่งปีอีกด้วย ภาพรวมการแข็งขันทางด้านอีคอมเมิร์ซค้าปลีก ภาพรวมตลาดเว็บไซต์ขายสินค้าออนไลน์ของประเทศเกาหลีใต้ในปัจจุบันมีรายได้มากถึง 640 พันล้านบาทโดยธุรกิจค้าปลีกออนไลน์โดยจะมีโมเดลด้วยกัน 4 รูปแบบคือ open Market, Tv Home Shopping, General Mail, Hyper Market Mall ซึ่งคู่แข่งขันที่เป็นยักใหญ่ทางด้าน Hypermarket ขายสิ้นค้าออนไลน์มีสัดส่วน 44% Open market หรือที่เรียกว่าตลาดเปิดกลับมีสัดส่วนที่ใหญ่สุดคือ 67 เปอร์เซนต์ของตลาดค้าปลีกออนไลน์ทั้งหมดซึ่งมีเว็บไซต์หลักๆอยู่ 4 รายในนั้น 1. Gmarket ส่วนแบ่ง 35 % 2. Auction ส่วนแบ่ง 27% 3. 11street ส่วนแบ่ง 24% 4. Interpark ส่วนแบ่ง 14% ใช้สองเพลตฟอร์มขายสิ้นค้าต่างกัน ซึ่งแพลตฟอร์มแรกนั้นจะขายสิ้นค้าสด 94 เปอร์เซนต์ และสิ้นค้าที่ไม่ใช่อาหารอีก 6 เปอร์เซนต์เมื่อมีคำสั่งซื้อสิ้นค้าจากเว็บไซต์ eCommerce แล้วการจัดการส่งไปยังร้านโฮมพลัสในสาขาใกล้กับที่อยู่จัดส่งผู้ซื้อและจะให้พนักงานเตรียมจัดส่งให้กับรถขนส่งของโฮมหลัสอีกที “หลังจากที่เปิดตัวโมบายล์แอพพลิอคชั่นได้เพียง 10 เดือน ก็ทำยอดขายถึง 9.4 เปอร์เซนต์ของช่องทางออนไลน์ทั้งหมดนั่นคือมีลูฏค้าทั้งหมด 10 เปร์เซนต์ ที่เป็นช่องทางโมบายล์และเป็นกล่มคนอายุ 20-35 ปี ซึ่งต่างกับลูกค้าในเว็บไซต์ที่มี อายุ 30-50 ปี” “ วัตถุประสงค์ของการทำ Virtual Store ก็คือต้องการบอกลูกค้าว่าโฮมพลัสไม่ได้เป็นแค่ธุรกิจทั่วไปแต่มีนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ทันสมัยและใช้เป็นสือทางการตลาดเพื่อให้คนช้อปออนไลน์มากขึ้น” โฮมพลัสได้ทำออนไลน์มาเป็นเวลา 10 ปีโดยมีเว็บไซต์มาตั้งแต่ปี 2002 ปัจจุบันมีสิ้นค้ามากถึง 35,000 รายการ ในส่วน E-marketplace จะเป็นตัวหกลางเพื่อขายสิ้นค้ามากถึง 1,700,000 รายการและมีคู่ค้ากว่า 3,000 เจ้าแต่ยอดขายยังไม่สูงนักเพราะเพิ่งเปิดตัวเมื่อปี 2011 บริการที่จุดจอดรถโดยสารประจำทางที่มีคนใช้มากที่สุดในย่านกังนัม โดยจะมีสิ้นค้าให้เลือกกว่า 100 รายการซึ่งผู้ใข้สามารถเก็บสิ้นค้าไว้บนโทรศัพท์มือถือได้ 50 รายการแล้วค่อยสั่งซื้อได้ตลอดเวลา ก็เพาะว่าคนไม่อยากขนของที่มีน้ำหนักมากๆจำพวก ข้าวสาร น้ำดื่มและกาแฟ จึงสามารถเลือกสิ้นค้าที่ป้ายแสดงสแกนบาร์โค๊ด หรือ QR Code เพื่อสั่งซื้อสิ้นค้าผ่านสมาร์ทโฟนได้ทันที บริการออนไลน์ตอบโจทย์ผู้บริโภคในประเทศไทย เทสโก้ โลตัส ได้เผยถึงความพร้อมในการเปิดตัวของประเทศไทยว่า จะอยู่ในไตรมาสที่ 4 ของปีนี้เนื่องจากความนิยมที่เพิ่มขึ้นของสมาร์ทโฟนและอัตราการเข้าถึงของบริการอินเทอร์เน็ตสูงขึ้นของประเทศไทย ให้ลูกค้าสามารถช้อปปิ้งผ่านระบบอิเตอร์เน็ตได้ตอบโจทย์ความต้องการที่เปลี่ยนไปของลูกค้าหลายกลุ่มโดยเฉพาะลูกค้าที่ไม่มีเวลาหรือลูกค้าที่ไม่สะดวกที่จะเดินทางไปซื้อของที่ห้างฯ ลูกค้าวัยทำงาน กลุ่มแม่บ้านที่กำลังตั้งครรภ์ และลูกค้าผู้สูงอายุ เป็นต้น